ชื่องานวิจัย : ผลของการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือแบบเพื่อนคู่คิดที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาสถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษา (The Effect of Think Pair Share Co-operative Learning Technique on Learning Achievement in Statistics for Data Analysis in Education)
ประเภทวิจัย : วิจัยในชั้นเรียน
ปีงบประมาณ : 2557
ประเภททุน : ทุนภายใน
แหล่งทุน : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
งบประมาณ : 5,000.00 บาท
เลขที่สัญญาทุน : -
สถานะ : ส่งเล่มสมบูรณ์
หัวหน้าวิจัย : พงศ์วัชร ฟองกันทา
สังกัด : สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยและการประเมิน
ข้อมูลติดต่อ :     
ผู้ร่วมวิจัย :








บทคัดย่อ : การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือแบบเพื่อนคู่คิดที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาสถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษาและประเมินความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนรายวิชาสถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษา ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษที่เรียนในรายวิชาสถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษาโดยมีผู้สอนคืออาจารย์พงศ์วัชร ฟองกันทา ในปีการศึกษา 2/2556 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบประเมินความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนรายวิชาสถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษาโดยผู้วิจัยสร้างขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้สถิติขั้นพื้นฐานเพื่อบรรยายคุณลักษณะของกลุ่มเป้าหมายที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ความถี่ (frequency) ร้อยละ (percent) ค่าเฉลี่ย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation)การวิเคราะห์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือแบบเพื่อนคู่คิด ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ที่เรียนในรายวิชาสถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษาพบว่า นักศึกษาที่มีระดับผลการเรียนสูงกว่า 65 % จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 65.00 ของจำนวนนักศึกษาทั้งหมด ดังนั้นผลการดำเนินงานมีผลสำเร็จซึ่งตามกว่าเกณฑ์ที่กำหนดที่ร้อยละ 65ของจำนวนนักศึกษาทั้งหมด


Fongkanta, P. &Buakanok, F. S. (2012). A study of learning style and some characteristic affecting English learning achievement of Chinese and Thai undergraduates. Proceeding of the Asian Conference on Language Learning Conference Proceeding 2012, Osaka, Japan, 381-389


ผู้ร่วมวิจัย

Netasit, A. &Fongkanta, P. (2012). Development of resilience quotient (RQ) support activities set for disable student, case study at disability support services, LampangRajabhat University
(การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมพลังสุขภาพจิต (RQ) สำหรับชุมชนที่ถูกน้ำท่วมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนกรณีศึกษาอำเภอเมืองจังหวัดลำปาง)
Buakanok, F. S.&Fongkanta, P. (2012). Media production by youth with development of multi-media productions in the drug epidemic area to create participation in society: case study PongloungwittayaRathchamungkalpisak

Lemtrakul, W., Methaneethorn, J.,Fongkanta, P. &Chanowan, S. (2012). Supporting Multilingual Education for Ethnic Minority in Northern Thailand

Netasit, A. &Fongkanta, P. (2011).The development of resilience quotient (RQ) promotional model to apply for the flooded community by using the community participation activity, case study at mueang district, Lampang province
(การสร้างชุดกิจกรรมการส่งเสริมพลังสุขภาพจิต (RQ) สำหรับนักศึกษาพิการ ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง)
หมายเหตุ :